สังคมผู้สูงอายุ - AN OVERVIEW

สังคมผู้สูงอายุ - An Overview

สังคมผู้สูงอายุ - An Overview

Blog Article

ในส่วนของผู้สูงอายุเองก็ต้องการทำงานต่อเนื่องทั้งจากศักยภาพที่มีอยู่ และภาระรับผิดชอบที่ยังคงมีอยู่ โดยพร้อมที่จะปรับรูปแบบของงานและค่าตอบแทนให้เหมาะสมกับสภาพร่างกายของตัวเอง เพราะชีวิตหลังเกษียณควรเป็นชีวิตที่ผู้สูงวัยได้เลือกเอง

โครงสร้างประชากรที่เปลี่ยนไปนี้ย่อมส่งผลต่อคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ เนื่องด้วยแบบแผนของสังคมไทยที่ครอบครัวนั้นมีส่วนสำคัญในการดูแลผู้สูงอายุ แต่ผลจากการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคม ทำให้แบบแผนการอยู่อาศัยร่วมกันในครอบครัวของผู้สูงอายุเปลี่ยนแปลงไป โดยในงานวิจัยเรื่อง “

การแบ่งบทบาทหน้าที่ระหว่างกันของรัฐบาล พื้นที่ และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ผ่านมามีความคลุมเครือ สังคมไทยจะให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีอิสระในการขับเคลื่อนงานผู้สูงอายุภายในพื้นที่มากน้อยเพียงไร หากเราสามารถทำให้เกิดความชัดเจนในบทบาทหน้าที่ใน “การส่งเสริมการพัฒนาผู้สูงอายุ” ตามพระราชบัญญัติจัดตั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ระบุไว้ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นก็จะมีอิสระในการตัดสินใจขับเคลื่อนงานผู้สูงอายุขึ้นได้อย่างมีนัยสำคัญ ขณะเดียวกัน ท้องถิ่นควรจะต้องมีอิสระและมีศักยภาพทางการคลังที่เพียงพอในระดับพื้นที่ด้วย

การเข้าสู่สังคมสูงวัยอย่างมีคุณภาพ คงไม่ใช่มุ่งเน้นเฉพาะกลุ่มเป้าหมายผู้สูงอายุเท่านั้น แต่เป็นเรื่องของคนทุกช่วงวัยที่ต้องเตรียมความพร้อม ต้องตระหนักและสร้างหลักประกันให้กับตนเองทั้งด้านสุขภาพอนามัยที่แข็งแรง การเงินที่มั่นคง การดำรงชึวิตอย่างมีศักดิ์ศรี เพื่อก้าวสู่การเป็นผู้สูงวัยอย่างมีคุณค่าและคุณภาพ

หากตลาดไม่สามารถเติบโตตามธรรมชาติได้ทัน นั่นหมายความว่าตลาดต้องได้รับการกระตุ้นจากรัฐ เช่น การให้แรงจูงใจทางด้านภาษี ที่มากกว่าปกติสำหรับผู้ที่สนใจลงทุนในธุรกิจเพื่อผู้สูงอายุ หรือการให้เงินส่งเสริมการผลิตบุคลากรด้านการพยาบาลผู้สูงอายุให้เพียงพอ รวมไปถึงการสร้างกระบวนการเยียวยาให้แก่บุคลากรเหล่านี้ เนื่องจาก งานดูแลผู้สูงอายุไม่ใช่งานง่ายที่ใครๆ ก็ทำได้ เป็นต้น 

“เพศแม่คือบุคคลสำคัญในนโยบายนี้ จากทัศนะเดิม ถ้าผู้หญิงคิดจะมีลูกสักคนก็ต้องตริตรองเพื่อเลือกระหว่างการมีบุตร แลกกับการถูกตัดขาดจากตลาดแรงงาน เนื่องจากสังคมยังคาดหวังให้ผู้หญิงรับผิดชอบงานบ้านและงานเลี้ยงดูบุตร ดังนั้น หากเราเชื่อว่าการมีบุตรจะช่วยให้พ่อแม่ในวัยเกษียณมีความสุข รัฐไทยก็ต้องปรับทัศนะ เน้นการให้โอกาสทั้งหญิงและชายในตลาดแรงงานอย่างเท่าเทียมกันมากขึ้น เพราะทั้งสองฝ่ายต้องทำงานและช่วยเหลือกันระหว่างการเลี้ยงดูบุตร เพื่อคุณภาพชีวิตในบั้นปลาย” รศ.ดร.นพพล กล่าว

ศูนย์กีฬาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

รู้แบบนี้…ก็ถึงเวลาถามตัวเองแล้วว่า ทุกวันนี้คุณมีแผนสำหรับการเป็นผู้สูงอายุที่มีคุณภาพชีวิตที่ดีแล้วหรือยัง?

แนวโน้มไลฟ์สไตล์ผู้สูงวัย เปรียบเทียบการศึกษาบริบทสังคมไทยและจีน

นโยบายธรรมาภิบาลข้อมูล และแนวปฏิบัติของกรมกิจการผู้สูงอายุ

พระราชบัญญัติการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ สังคมผู้สูงอายุ การวิจัยและนวัตกรรม พ.ศ. ๒๕๖๒

Language: discipline is needed. I agree Using the terms of the Privateness Observe and consent to my private info becoming processed, towards the extent essential, to acquire these updates.

ตลาดการเงินและสถาบันการเงิน บทวิเคราะห์

การสมัครเข้าศึกษาระดับปริญญาบัณฑิต

Report this page